- วัยที่เพิ่มมากขึ้น ร่างกายจะเริ่มลดอัตราการสร้างมวลกระดูกตั้งแต่อายุประมาณ 30 ปี ส่งผลให้มวลกระดูกค่อยๆลดปริมาณลงจนกระทั่งอายุ 65 ปีขึ้นไปจะพบภาวะกระดูกพรุนได้มากขึ้น
- ขาดฮอร์โมนเพศ หญิงวัยหมดประจำเดือนจะมีอัตราการสลายกระดูกสูงขึ้นเป็นอย่างมาก
- ขาดการออกกำลังกาย เพราะการออกกำลังกายจะช่วยกระตุ้นเซลล์กระดูกให้สร้างมวลกระดูกใหม่
- ขาดสารอาหารสำคัญในการเสริมสร้างกระดูก ได้แก่ โปรตีน แคลเซียม และวิตามินดี
ภาวะกระดูกพรุนมีอันตรายสูงมากต่อสุขภาพ ดังนั้น จึงต้องป้องกันและรักษาอย่างเร่งด่วน เพราะเมื่อกระดูกหักท่อนแรก ก็มักจะนำไปสู่การหักในท่อนต่อไป แต่การที่จะรักษากระดูกที่พรุนแล้วให้กลับสู่สภาพเดิมมักไม่ค่อยได้ผล ดังนั้น สิ่งที่ดีที่สุด คือ การดูแลตนเองไม่ให้เกิดภาวะกระดูกพรุน ด้วยการรับประทานและเสริมอาหารที่มีประโยชน์ต่อการเสริมสร้างกระดูกแต่เนิ่นๆ ควบคู่ไปกับการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอนั่นเอง
ภาวะกระดูกพรุน มีลักษณะดังนี้
อาการโรค
เป็นมากในหญิงวัยกลางคน วัยหมดประจำเดือน (Menopause) และวัยสูงอายุ กระดูกจะบางลงและเปราะ กระดูกหักง่ายแม้ว่า ได้รับอุบัติเหตุเพียงเล็กน้อย เช่น สะโพก ข้อมือ กระดูกสันหลัง หรือมีอาการปวดบริเวณสะโพก ปวดหลัง ตัวเตี้ยลง หลังโค้งงอ เนื่องจากกระดูกสันหลังอ่อนแอ กระดูกยุบตัวเข้าหากัน หญิงวัยสาว ก็มีโอกาสเกิดโรคนี้ได้เหมือนกัน
อาหารที่ควรบริโภค
1. อาหารที่มีแคลเซียมสูง ได้แก่ นม ผลิตภัณฑ์นม
2. อาหารที่มีวิตามิน ดี สูง ได้แก่ ปลาที่มีไขมันมาก ไข่ โดยเฉพาะไข่แดง และควรให้ร่างกายได้รับแสงแดดอ่อนๆ ในช่วงเวลาเช้าและเย็น
ราคาปกติ: 380.00 บาท, สมาชิก 285 ฿ภาวะกระดูกพรุน มีลักษณะดังนี้
อาการโรค
เป็นมากในหญิงวัยกลางคน วัยหมดประจำเดือน (Menopause) และวัยสูงอายุ กระดูกจะบางลงและเปราะ กระดูกหักง่ายแม้ว่า ได้รับอุบัติเหตุเพียงเล็กน้อย เช่น สะโพก ข้อมือ กระดูกสันหลัง หรือมีอาการปวดบริเวณสะโพก ปวดหลัง ตัวเตี้ยลง หลังโค้งงอ เนื่องจากกระดูกสันหลังอ่อนแอ กระดูกยุบตัวเข้าหากัน หญิงวัยสาว ก็มีโอกาสเกิดโรคนี้ได้เหมือนกัน
อาหารที่ควรบริโภค
1. อาหารที่มีแคลเซียมสูง ได้แก่ นม ผลิตภัณฑ์นม
2. อาหารที่มีวิตามิน ดี สูง ได้แก่ ปลาที่มีไขมันมาก ไข่ โดยเฉพาะไข่แดง และควรให้ร่างกายได้รับแสงแดดอ่อนๆ ในช่วงเวลาเช้าและเย็น
อาหารสุขภาพที่มีงานวิจัยรองรับว่า มีคุณประโยชน์ต่อกระดูกและข้อ มีหลายชนิด อาทิเช่น
แคลเซียม
แคลเซียม
แคลเซียม เป็นโครงสร้างหลักของกระดูก หากไม่ได้รับแคลเซียมในปริมาณที่พอเพียง ร่างกายจะดึงแคลเซียมที่สะสมอยู่ในกระดูกออกมาใช้ และหากได้รับอย่างไม่พอเพียงเป็นประจำ แคลเซียมในกระดูกจะถูกดึงออกมามากจนกระทั่งกระดูกพรุน เปราะ ทำให้ความแข็งแรงของกระดูกลดลง แตกหักได้ง่ายแม้ว่าได้รับแรงกระแทกเพียงเล็กน้อย การได้รับแคลเซียมเสริมจึงช่วยเสริมความแข็งแรงให้แก่กระดูก
คอลลาเจน
คอลลาเจน เป็นโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบหลักของกระดูกอ่อน ซึ่งบุอยู่ที่ส่วนปลายกระดูกของข้อต่อ การเสริมด้วยคอลลาเจน จึงอาจจะมีประโยชน์ในกระบวนการสร้างกระดูกอ่อน นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยในผู้ป่วยโรคข้อรูมาตอยด์ พบว่า การให้สารสกัดจากคอลลาเจนทำให้อาการโรคข้อดีขึ้น
น้ำมันปลา
น้ำมันปลามี DHA และ EPA ซึ่งจะช่วยลดการอักเสบและบวมของข้อได้
คอลลาเจน
คอลลาเจน เป็นโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบหลักของกระดูกอ่อน ซึ่งบุอยู่ที่ส่วนปลายกระดูกของข้อต่อ การเสริมด้วยคอลลาเจน จึงอาจจะมีประโยชน์ในกระบวนการสร้างกระดูกอ่อน นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยในผู้ป่วยโรคข้อรูมาตอยด์ พบว่า การให้สารสกัดจากคอลลาเจนทำให้อาการโรคข้อดีขึ้น
น้ำมันปลา
น้ำมันปลามี DHA และ EPA ซึ่งจะช่วยลดการอักเสบและบวมของข้อได้
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารแคลเซียม ผสมแมกนีเซียม วิตามิน ซี, สังกะสี, แมกกานีส, ทองแดง, วิตามิน อี และวิตามิน ดี3 ชนิดเม็ด
วิธีรับประทานครั้งละ 1 เม็ด พร้อมอาหารเช้า-เย็น
ฆอ. 1983/2553
ขนาด 60 เม็ด
รหัสสินค้า: | 40508 |
ราคา: | 420 บาท
สมาชิก 315 ฿
|
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร คอลลาเจน ผสมวิตามินซี, ไลโคปีนและไลซีน ชนิดเม็ด
ขนาดรับประทาน : วันละ 1-2 เม็ด หลังอาหาร
ขนาด 30 เม็ด
รหัสสินค้า: | 40512 |
ราคา: | 600.00 บาท
สมาชิก 450 ฿
|
น้ำมันปลา ขนาด 1,000 มก.
บรรจุ 90 แคปซูล รหัสสินค้า 40205 ราคา 540 สมาชิก 405 ฿
บรรจุ 50 แคปซูล รหัสสินค้า 40206 ราคา 350 สมาชิก 262.5 ฿
น้ำมันปลา ขนาด 500 มก.
บรรจุ 90 แคปซูล รหัสสินค้า 40207 ราคา 320 สมาชิก 240 ฿
บรรจุ 50 แคปซูล รหัสสินค้า 40208 ราคา 200 สมาชิก 150 ฿
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น